วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558

เนื้อเรื่องวิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง มัธยมศึกษาตอนปลาย

เรื่อง ความหมายคุณค่าและประโยชน์ของศาสนา

ความหมายของศาสนา
ศาสนา คือ คำสอนที่ศาสดานำมาเผยแพรสั่งสอน แจกแจงแสดงใหมนุษยเวนจาก ความชั่วกระทำแตความด ีซึ่งมนุษยยึดถือปฏิบัติตามคำสอนนั้นดวยความเคารพเลื่อมใส และศรัทธาคำสอนดังกลาวจะมีลักษณะเปนสัจธรรมศาสนามีความสำคัญตอบุคคลและสังคม ทำใหมนุษยทุกคนเปนคนดีและอยูรวมกันอยางสันติสุข ศาสนาในโลกนี้มีอยูมากมายหลาย ศาสนาดวยกันแตวัตถุประสงคอันสำคัญยิ่งมองทุกๆศาสนาเปนไปในทางเดียวกันกลาวคือ ชักจูงใจใหคนละความชั่วประพฤติความดีเหมือนกันหมดหากแตวาการปฏิบัติพิธีกรรมยอม แตกตางกันความเชื่อถือของแตละศาสนา
คุณคาของศาสนา
1. เปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย
2. เปนบอเกิดแหงความสามัคคีของหมูคณะและในหมูมนุษยชาติ
3. เปนเครื่องดับความเรารอนใจทำใหสงบรมเย็น
4. เปนบอเกิดแหงจริยธรรมศีลธรรมและคุณธรรม
5. เปนบอเกิดแหงการศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม
6. เปนดวงประทีบสองโลกที่มืดมิดอวิชชาใหกลับสวางไสวดวยวิชชา

ประโยชนของศาสนา
ศาสนามีประโยชนมากมายหลายประการกลาวโดยสรุปมี 6 ประการคือ
1. ศาสนาเปนแหลงกำเนิดจริยธรรม ศาสนาทุกศาสนาสอนใหเราทราบวาอะไร คือความชั่วที่ควรละเวนอะไรคือความดีที่ควรกระทำอะไรคือสิ่งที่บุคคลในสังคมพึงปฏิบัติพื่อใหอยูรวมกันอยางมีความสุขดังนั้นทุกศาสนาจึงเปนแหลงกำเนิดแหงความดีทั้งปวง
2. ศาสนาเปนแนวทางการดำเนินชีวิต ทุกศาสนาจะวางหลักการดำเนินชีวิตเปน ขั้นๆเชนพระพุทธศาสนาวางไว 3 ขั้นคือขั้นตนเนนการพึ่งตนเองไดมีความสุขตามประสา ชาวโลกขั้นกลางเนนความเจริญกาวหนาทางคุณธรรมและขั้นสูงเนนการลด ละ โลภ โกรธ หลง
3. ศาสนาทำใหผูนับถือปกครองตนเองได หลักคำสอนใหรูจักรับผิดชอบตนเอง คนที่ทำตามคำสอนทางศาสนาเครงครัดจะมีหิริโอตตัปปะไมทำชั่วทั้งที่ลับและที่แจงเพราะ สามารถควบคุมตนเองได
4. ศาสนาชวยใหสังคมดีขึ้น คำสอนทางศาสนาเนนใหคนในสังคมเวนจากการ เบียดเบียนกันเอารัดเอาเปรียบกันสอนใหเอื้อเฟอเผื่อแผรมีความซื่อสัตยสุจริตตอกันเปน เหตุใหสังคมมีความสงบสันติยิ่งขึ้นสอนใหอดทนเพียรพยายามทำความดีสรางสรรคผลงาน และประโยชนใหกับสังคม
5. ศาสนาชวยควบคุมสังคมดีขึ้น ทุกสังคมจะมีระเบียบขอบังคับจารีตประเพณีและกฎหมายเป็นมาตรการควบคุมสังคมใหสงบสุขแตสิ่งเหลานี้ไมสามารถควบคุมสังคมให้สงบสุขแทจริงไดเชนกฎหมายก็ควบคุมไดเฉพาะพฤติกรรมทางกายและทางวาจาเทานั้นไม่สามารถลึกลงไปถึงจิตใจไดศาสนาเทานั้นจึงจะควบคุมคนไดทั้งกาย วาจา และใจ
ศาสนาในประเทศศาสนาพุทธเปนศาสนาประจำชาติไทยมีผูนับถือมากที่สุด รองลงมาคือศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ-ฮินด ูและศาสนาซิกซ์ รายละเอียดของ แตละศาสนาดังตอไปนี้คือ
เรื่อง พุทธประวัติและหลักธรรมคำสอนของบุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาเชื่อเรื่องการเวียนวาย ตาย เกิด ในวัฎสงสารถาสัตวโลกยังมีกิเลส คือโลภ โกรธ หลงจะตองเกิดในไตรภูมิคือ 3 โลก ไดแก นรกภูม ิโลกมนุษย และเทวโลก และในการเกิดเปนพระพุทธเจาเพื่อที่จะโปรดสัตวโลกใหพนบารมีเพื่อใหบารมีสมบูรณจึงจะ เกิดเปนพระพุทธเจาใหพระเจาไดบำเพ็ญบารมีมาทุกภพทุกชาติและบำเพ็ญบารมีอยางยิ่งยวด ใน 10 ชาติสุดทายเรียกวาทศชาติซึ่งไดกลาวไวในพระสุตตันตปฎก โดยมีความยอๆดังนี้
 1. เตมียชาดก
เปนชาดกที่แสดงถึงการบำเพ็ญเนกขัมมบารมีคือการออกบวช ความวาตระเตมีย เกิดในตระกูลกษัตริยแตทรงเกรงวาจะตองขึ้นครองราชยเปนพระราชาเพราะทรงเห็น การลงโทษโจรตามคำสั่งของพระราชา เชน เฆี่ยนบางเอาหอกแทงบางพระองคจึงทรงแกลง เปนงอย เปลี้ย หูหนวก เปนใบ ไมพูดจากับใคร พระราชาปรึกษากับพราหมณใหนำพระองค ไปฝงเสียพระมารดาทรงคัดคานแตไมสำเร็จจึงทรงขอใหพระเตมียครองราชย 7 วันเผื่อ พระองคจะตรัสบาง ครั้งครบ 7 วันแลวพระเตมียก็ไมตรัส ดังนั้นสารถีจึงนำพระเตมียไปฝง ตามคำสั่งของพระราชาครั้งสารถีขุดหลุมเตรียมฝงขณะกำลังขุดหลุมพระเตมียลงจากรถและ ตรัสปราศรัยแจ้งวาพระองคตองการจะบวชไมตองการเปนพระราชจากนั้นสารถีกลับไปบอก พระราชา พระราชาจึงเชิญพระเตมียกลับไปครองราชย พระเตมียกลับเทศนาสั่งสอนจน พระชนกชนนีและบริวารพากันเลื่อมใสออกบวชตาม
 2. มหาชนกชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญวิริยบารมีคือความเพียรใจความสำคัญคือพระมหา ชนกราชกุมารเดินทางไปทางทะเล เรือแตกคนทั้งหลายจมนํ้าตายบางเปนเหยื่อของสัตวนํ้า บางแตพระองคไมทรงละความอุตสาหะทรงวายนํ้าโดยกำหนดทิศทางแหงกรุงมิถิลาในท่ีสุด ก็ไดรอดชีวิตกลับไปกรุงมิถิลาได ชาดกเรื่องนี้เป็นที่มาแหงภาษิตที่วาเปนชายควรเพียรรํ่าไป อยาเบื่อหนาย(ความเพียร)เสียเราเห็นตัวเองเปนไดอยางที่ปรารถนาขึ้นจากนํ้ามาสูบกได 
 3. สุวรรณสามชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญเมตตาบารมีคือการแผไมตริจิตคิดจะใหสัตวทั้งปวง เปนสุขทั่วหนา มีเรื่องเลาวา สุวรรณสามเลี้ยงมารดาบิดาของตนซึ่งเสียจักษุในปาและ เนื่องจากเปนผูเมตตาปรารถดีตอผูอื่นหมูเนื้อก็เดินตามแวดลอมไปในที่ตางๆวันหนึ่งถูก พระเจากรุงพาราณสีชื่อพระเจากบิลยักษยิงเอาดวยธนูดวยเขาพระทัยผิดภายหลังเมื่อทราบ วาเปนมาณพผูเลี้ยงมารดาบิดาก็สลดพระทัยจึงไปจูงมารดาของสุวรรณสามมามารดาบิดา ของสุวรรณก็ตั้งสัจจกริยาอางคุณความดีของสุวรรณสาม สุวรรณสามก็ฟนคืนสติและไดสอน พระราชาแสดงคติธรรมวาผูใดเลี้ยงมารดาบิดาโดยธรรมแมเทวดาก็ยอมรักษาผูนั้นยอมมีคนสรรเสริญในโลกนี้ละโลกนี้ไปแลวก็ไปเกิดในสวรรคตอจากนั้นเมื่อพระราชาขอใหสั่งสอน ตอไปอีกก็สอนใหทรงปฏิบัติธรรมปฏิบัติชอบในบุคคลทั้งปวง
 4. เนมิราชชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญอธิฐานบารมีคือความตั้งใจมั่นคงมีเรื่องเลาวาเนม ิราชไดขึ้นครองราชยตอจากพระราชบิดาทรงบำเพ็ญคุณงามความดีเปนที่รักของมหาชนและ ในที่สุดเมื่อทรงมอบราชสมบัติแกพระราชโอรสเสด็จออกผนวชเชนเดียวกับที่พระราชบิดา ของพระองคเคยทรงบำเพ็ญมาทอดพระเนตรเห็นเสนพระเกศาหงอกบางก็สลดพระทัยใน สังขารจึงทรงออกผนวช
 5. มโหสถชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญอธิฐานบารมีคือความตั้งใจมั่นคงมีเรื่องเลาวามโห สถบัณฑิตเปนที่ปรึกษาหนุมของพระเจาวิเทหะแหงกรุงมิถิลาทานมีความฉลาดรูสามารถ แนะนำในปญหาตางๆไดอยางถูกตองรอบคอบเอาชนะที่ปรึกษาอื่นๆที่ริษยาใสความดวย ความดีไมพยาบาทอาฆาตครั้งหลังใชอุบายปองกันพระราชาจากราชศัตรูและจับราชศัตรูซึ่ง เปนกษัตริยพระนครอื่นได
 6. ภูริทัตชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญศีลบารม ีคือการรักษาศีลมีเร่ืองเลาวาภูริทัตตนา คราชไปจำศีลอยูริมฝงแมนํ้ายนุนายอมอดทนใหหมองูจับไปทรมานตางๆทั้งที่สามารถจะ ทำลายหมองูไดดวยฤทธ์ดวยความที่มีใจมั่นตอศีลของตนในที่สุดก็ไดอิสรภาพ
 7. จันทกุมารชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญขันติบารมีคือความอดทนจันทกุมารเปนโอรสของ พระเจาเอกราชพระองคทรงชวยประชาชนใหพนจากคดีซึ่งกัณฑหาลพราหมณราชปุโรหิต เปนผูรับสินบนตัดสินคดีขาดความเปนธรรมสงผลใหกัณฑหาลพราหมณผูกอาฆาตพยาบาท วันหนึ่งพระเจาเอกราชทรงพระสุบินเห็นดาวดึงสเทวโลกเมื่อทรงตื่นบรรทมทรงพระประสงค ทางไปดาวดึงสเทวโลกจึงตรัสถามกัณฑหาลพราหมหกัณฑหาลพราหมหจึงกราบทูลแนะนํา ใหตรัสพระเศียรโอรส ธิดา มเหสีบูชายัญแมใครจะทัดทานขอรองก็ไมเปนผลรอนถึง ทาวสักกะ(พระอินทร)ตองมาชี้แจงใหหายเขาใจผิดวาวิธีนี้ไมใชทางไปสวรรค มหาชนจึงรุมฆา กัณฑหาลพราหมณ และเนรเทศพระเจาเอกราชแลวกราบทูลเชิญจันทกุมารขึ้นครองราชย 
8. นารทชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญอุเบกขาบารมีคือการวางเฉยพระพรหมนารถไดชวย ใหพระเจาอังคติราชแหงกรุงมิถิลามหานครพนจากความคิดเห็นผิดที่ไดรับคำสอนจาก คุณาชีวกวารูปกายของคนสัตวเปนของเที่ยงแมตัดศรีษะผูอื่นแลวไมบาปส ุทุกข เกิดไดเอง ไมมีเหตุคนเราเวียนวายตายเกิดหนักเขาก็บริสุทธ์เองเมื่อพระองคมีความเห็นดังนั้นพระเจา อังคติราชจึงสั่งใหรื้อโรงทานและมัวเมาในโลกียรอนถึงพระธิดาคือพระนางรุจาทรงหวงพระบิดา จึงสวดออนวอนขอใหพระบิดาพนจากความมัวเมารอนถึงพระพรหมนาทรทรงจำแลงกาย เปนนักบวชทรงสอนใหพระเจาอังคติราชใหกลับความเห็นที่ผิดมาบำเพ็ญกุศล ถือศีล ทำทาน ปกครองเมืองโดยสงบรมเย็น
 9. วิทูรชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญสัจจบารมีคือความซื่อสัตยบัณฑิตมีหนาที่ถวาย คำแนะนำแกพระเจ้าธนัญชัยโกรัพยะซึ่งเปนพระราชาที่คนนับถือมากครั้งหนึ่งปุณณกยักษ มาทาพระเจาธนัญชัยโกทัพยะเล่นสกาถาแพจะถวายมณีรัตนะอันวิเศษถาพระราชาแพตอง ใหสิ่งที่ปุณณกยักษตองการในที่สุดพระราชาแพปุณณกยักษของตังวิฑูรบัณฑิตพระราชา หนวงเหนี่ยวประการใดไมสำเร็จวิฑูรบัณฑิตรักษาสัจจะไปกับยักษในที่สุดแมแมยักษจะทํา อยางไรวิฑูรบัณฑิตก็ไมตายกับแสดงธรรมจนยักษเลื่อมใสและไดกลับคืนบานเมืองมีการ ฉลองรับขวัญเปนการใหญ
 10. เวสสันดรชาดก
เปนชาติสุดทายของพระพุทธเจาชาติตอไปจึงจะเกิดเปนพระพุทธเจาชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญทานบารมีคือการบริจาคทานมีเรื่องเลาวาพระเวสสันดรผูใจดีบริจาคทุกอยาง ที่มีคนขอครั้งหนึ่งประทานชางเผือกคูบานคูเมืองแกพราหมณชาวกาลิงคะซึ่งตอมาขอชาง ไปเพื่อใหเมืองของตนหายจากฝนแลงแตประชาชนโกรธขอใหเนรเทศพระราชบิดาจึงจํา พระทัยตองเนรเทศพระเวสสันดรซึ่งพระนางมัทรีพรอมดวยพระโอรสธิดาไดตามเสด็จไปดวย เมื่อชูชกไปขอสองกุมารก็ประทานใหอีกภายหลังพระเจาสัญชัยพระราชบิดาไดทรงไถสอง กุมารจากชูชกและเสด็จไปรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรีกลับกรุง(เรื่องนี้แสดงการเสีย สละสวนนอยเพื่อประโยชนสวนใหญคือการตรัสรูเปนพระพุทธเจาอันจะเปนทางใหไดบำเพ็ญ ประโยชนสวนรวมไดมิใชเสียสละโดยไมมีจุดมุงหมายหรือเหตุผล)

เรื่อง หลักธรรมในแต่ละศาสนาที่ส่งผลให้อยู่รวมกับศาสนาอื่นได้อย่างมีสุข

ศาสนาพุทธ มีหลักสำคัญคือการมุงเนนใหไมเบียดเบียน ไมจองเวรซึ่งกันและ กันจะเห็นวาศีลขอ 1. ของศาสนาพุทธ คือ ปาณาติปาตา เวระมะณีสิกขา ปะทัง สะมาทิยามิคือ งดเวนการฆา เบียดเบียน ทำรายร่างกายคนและสต์และหลักสำคัญตอมาอีกคือยดหลัก พรหมวิหาร 4 คือ
1. เมตตา คือ ความปรารถนาใหผูอื่นมีความสข
2. กรุณา คือความปรารถนาใหผูอื่นพนจากความทุกข
3. มุทิตา คือ ความยนดีเมื่อผูอื่นไดดี
4. อุเบกขา คือ การวางเฉย ไมลาเอียง ทำใจเปนกลาง ใครทำดียอมไดด ี
หลักธรรมที่สาคัญอีกคือสงคหวตถุ 4 คือ หลักธรรมที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวนํ้าใจ ผูอื่นไดแก่ทานคือการใหความเสียสละแบงปนของตนเองใหผูอื่น ปยวาจา คือ พูดจาดวย ถอยคำที่ไพเราะออนหวานพูดดวยความจริงใจไมหยาบคายกาวราว อัตถจริยา คือ การสงเคราะหผูอื่นทำประโยชนใหผูอื่น และสมานัตตาคือ ความเป็นผูสมํ่าเสมอ ประพฤต ิเสมอตนเสมอปลาย เนนคุณธรรมสาคัญในการอยูกับผูอ์นในสงคม
และที่สาคัญในการแกไขปญหาความขัดแยงในศาสนาพุทธ มุงเนนท๊การเจริญปญญา นั่นคือ ปญหาต่างๆ คือผลและยอมเกิดจากสาเหตุของปญหา การแกไขตองพิจารณาที่สาเหต ุและแกที่สาเหต ุดังนั้นแตละปัญหาที่เกิดขึ้นสาเหตุที่เกิดจะแตกตางกันตามสถานการณ นอกจากจะพิจารณาที่สาเหตุแลว ในการแกปญหายงใชวธีการประชุมเปนสำคัญ พอจะเห็น รูปแบบการประชุมรวมกันของสงฆที่สงผลถึงปจจุบัน ตัวอยางคือคำวา สังฆกรรม ซึ่งเปนการ กระทำรวมกันของพระสงฆ เชน การรบบุคคลเขาบวชในพุทธศาสนา พระสงฆประกอบดวย อุปชฌาย พระคูสวด จะตองหารือกัน ไถถามกันเปนภาษาบาลีเพื่อพิจารณาคุณสมบัติของ ผูมาบวชวาสมควรใหบวชไดไหม
ศาสนาอิสลาม ไดวางหลักเกณฑแบบแผนในการประพฤติปฏิบัติในสวนที่เปนศีล ธรรมและจริยธรรมอันนำมาซึ่งความสามัคคีและความสงบสุขในการอยูรวมกันของกลุมใน สังคม ศาสนาอิสลามมีคำสอนซึ่งเป็นข้อปฏิบัติสาหรับครอบครัวและชุมชน โดยมีหลักศรัทธา หลักจริยธรรม และหลักการปฏิบัติ
สาสนแหงอิสลามที่ถูกสงมาใหแกมนุษยทั้งมวลมีจดประสงค 3 ประการคือ
1. เปนอดมการณที่สอนมนุษยใหศรัทธาในอลลอห์พระผูเปนเจาเพียงพระองคเดียว ที่สมควรแกการเคารพบูชาและภักดีศรัทธาในความยติธรรมของพระองคศรัทธาในพระ โองการแหงพระองค์ศรัทธาในวนปรโลก วันซ่ึงมนุษยฟนคืนชีพอีกครั้งเพื่อรบการพิพากษา และผลตอบแทนของความดีความชั่วที่ตนไดปฏิบัติไปในโลกนี้มั่นใจและไววางใจตอ พระองค เพราะพระองคคือที่พึ่งพาของทุกสรรพสิ่ง มนุษยจะตองไมสนหวังในความเมตตา ของพระองค และพระองคคือปฐมเหตุแหงคุณงามความดีทั้งปวง
2. เปนธรรมนูญสาหรับมนุษย เพื่อใหเกิดความสงบสุขในชีวิตสวนตัว และสงคม เปนธรรมนูญที่ครอบคลุมทุกดาน ไมวาในดานการปกครอง เศรษฐกิจ หรือนิติศาสตร อิสลามสงสอนใหมนุษยอยูกันดวยความเปนมิตร ละเวนการรบราฆาฟน การทะเลาะเบาะ แวง การละเมิดและรกรานสทธิของผูอื่น ไมลกขโมย ฉอฉล หลอกลวง ไมผิดประเวณ ีหรือ ทำอนาจาร ไมดื่มของมึนเมาหรือรบประทานสงที่เปนโทษตอรางกายและจตใจ ไมบอนทํา ลายสงคมแมวาในรปแบบใดก็ตาม
3. เปนจริยธรรมอันสงสงเพื่อการครองตนอยางมีเกียรติเนนความอดกลั้น ความ ซื่อสัตย ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ความเมตตากรุณา ความกตัญูกตเวทีความสะอาดของ กาย และใจ ความกลาหาญ การใหอภัยความเทาเทียมและความเสมอภาคระหวางมนุษย การ เคารพสทธิของผูอื่น สั่งสอนใหละเวนความตระหนี่ถราเหนียว ความอิจฉาริษยา การติฉินนินทา ความเขลาและความขลาดกลัว การทรยศและอกตัญญู การลวงละเมิดสทธิของผูอื่น

อิสลาม เปนศาสนาของพระผูเปนเจาที่ทางนำในการดำรงชีวิตทุกดานแกมนุษย์ทุกคน ไมยกเวน อายุเพศ เผาพันธ ุวรรณะ
ศาสนาคริสต นอกจากบัญญัติ 10 ประการที่สาคัญในการอยูรวมกับผูอื่นของศาสนา คริสต์คือ จงอย่าฆาคน จงอยาลวงประเวณีในคูครองของผูอื่น จงอยาลกขโมย จงอยาพูด เท็จ จงอยามักไดในทรัพยของเขา และคำสอนที่สาคัญคือใหรกเพื่อนบานเหมือนรกตัวเอง ให้มีเมตตาตอกัน จงรักผูอื่นเหมือนพระบิดารกเรา ใหอภัยแลวทานจะไดรับการอภัย ลวนแตเปนคุณธรรมพื้นฐานที่สาคัญที่ทำใหการอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข


ศาสนาพราหมณ-ฮินด ูสอนใหมีความมั่นคง มีความเพียร ความพอใจในสงที่ตน มีใหอดทน อดกลั้นมีเมตตากรุณา ขมใจไมหวั่นไหวไปตามอารมณ ไมลกขโมย ไมโจรกรรม ทำตนใหสะอาดทั้งกายและใจ มีธรรมะสาหรับคฤหัสถคือจบการศึกษาใหกลับบานชวย บิดามารดาทำงาน แตงงานเพื่อรักษาวงศตระกูลประกอบอาชีพโดยยึดหลักธรรมเครื่องดำเนินชีวิต 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น