วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558

ศาสนาและหนาท่ีพลเมือง (สค31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

เกษตรธรรมชาติ MOA


เนื้อหา








แบบฝึกหัด

แบบทดสอบหลังเรียน





เนื้อเรื่องวิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง มัธยมศึกษาตอนปลาย

เรื่อง ความหมายคุณค่าและประโยชน์ของศาสนา

ความหมายของศาสนา
ศาสนา คือ คำสอนที่ศาสดานำมาเผยแพรสั่งสอน แจกแจงแสดงใหมนุษยเวนจาก ความชั่วกระทำแตความด ีซึ่งมนุษยยึดถือปฏิบัติตามคำสอนนั้นดวยความเคารพเลื่อมใส และศรัทธาคำสอนดังกลาวจะมีลักษณะเปนสัจธรรมศาสนามีความสำคัญตอบุคคลและสังคม ทำใหมนุษยทุกคนเปนคนดีและอยูรวมกันอยางสันติสุข ศาสนาในโลกนี้มีอยูมากมายหลาย ศาสนาดวยกันแตวัตถุประสงคอันสำคัญยิ่งมองทุกๆศาสนาเปนไปในทางเดียวกันกลาวคือ ชักจูงใจใหคนละความชั่วประพฤติความดีเหมือนกันหมดหากแตวาการปฏิบัติพิธีกรรมยอม แตกตางกันความเชื่อถือของแตละศาสนา
คุณคาของศาสนา
1. เปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย
2. เปนบอเกิดแหงความสามัคคีของหมูคณะและในหมูมนุษยชาติ
3. เปนเครื่องดับความเรารอนใจทำใหสงบรมเย็น
4. เปนบอเกิดแหงจริยธรรมศีลธรรมและคุณธรรม
5. เปนบอเกิดแหงการศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม
6. เปนดวงประทีบสองโลกที่มืดมิดอวิชชาใหกลับสวางไสวดวยวิชชา

ประโยชนของศาสนา
ศาสนามีประโยชนมากมายหลายประการกลาวโดยสรุปมี 6 ประการคือ
1. ศาสนาเปนแหลงกำเนิดจริยธรรม ศาสนาทุกศาสนาสอนใหเราทราบวาอะไร คือความชั่วที่ควรละเวนอะไรคือความดีที่ควรกระทำอะไรคือสิ่งที่บุคคลในสังคมพึงปฏิบัติพื่อใหอยูรวมกันอยางมีความสุขดังนั้นทุกศาสนาจึงเปนแหลงกำเนิดแหงความดีทั้งปวง
2. ศาสนาเปนแนวทางการดำเนินชีวิต ทุกศาสนาจะวางหลักการดำเนินชีวิตเปน ขั้นๆเชนพระพุทธศาสนาวางไว 3 ขั้นคือขั้นตนเนนการพึ่งตนเองไดมีความสุขตามประสา ชาวโลกขั้นกลางเนนความเจริญกาวหนาทางคุณธรรมและขั้นสูงเนนการลด ละ โลภ โกรธ หลง
3. ศาสนาทำใหผูนับถือปกครองตนเองได หลักคำสอนใหรูจักรับผิดชอบตนเอง คนที่ทำตามคำสอนทางศาสนาเครงครัดจะมีหิริโอตตัปปะไมทำชั่วทั้งที่ลับและที่แจงเพราะ สามารถควบคุมตนเองได
4. ศาสนาชวยใหสังคมดีขึ้น คำสอนทางศาสนาเนนใหคนในสังคมเวนจากการ เบียดเบียนกันเอารัดเอาเปรียบกันสอนใหเอื้อเฟอเผื่อแผรมีความซื่อสัตยสุจริตตอกันเปน เหตุใหสังคมมีความสงบสันติยิ่งขึ้นสอนใหอดทนเพียรพยายามทำความดีสรางสรรคผลงาน และประโยชนใหกับสังคม
5. ศาสนาชวยควบคุมสังคมดีขึ้น ทุกสังคมจะมีระเบียบขอบังคับจารีตประเพณีและกฎหมายเป็นมาตรการควบคุมสังคมใหสงบสุขแตสิ่งเหลานี้ไมสามารถควบคุมสังคมให้สงบสุขแทจริงไดเชนกฎหมายก็ควบคุมไดเฉพาะพฤติกรรมทางกายและทางวาจาเทานั้นไม่สามารถลึกลงไปถึงจิตใจไดศาสนาเทานั้นจึงจะควบคุมคนไดทั้งกาย วาจา และใจ
ศาสนาในประเทศศาสนาพุทธเปนศาสนาประจำชาติไทยมีผูนับถือมากที่สุด รองลงมาคือศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ-ฮินด ูและศาสนาซิกซ์ รายละเอียดของ แตละศาสนาดังตอไปนี้คือ
เรื่อง พุทธประวัติและหลักธรรมคำสอนของบุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาเชื่อเรื่องการเวียนวาย ตาย เกิด ในวัฎสงสารถาสัตวโลกยังมีกิเลส คือโลภ โกรธ หลงจะตองเกิดในไตรภูมิคือ 3 โลก ไดแก นรกภูม ิโลกมนุษย และเทวโลก และในการเกิดเปนพระพุทธเจาเพื่อที่จะโปรดสัตวโลกใหพนบารมีเพื่อใหบารมีสมบูรณจึงจะ เกิดเปนพระพุทธเจาใหพระเจาไดบำเพ็ญบารมีมาทุกภพทุกชาติและบำเพ็ญบารมีอยางยิ่งยวด ใน 10 ชาติสุดทายเรียกวาทศชาติซึ่งไดกลาวไวในพระสุตตันตปฎก โดยมีความยอๆดังนี้
 1. เตมียชาดก
เปนชาดกที่แสดงถึงการบำเพ็ญเนกขัมมบารมีคือการออกบวช ความวาตระเตมีย เกิดในตระกูลกษัตริยแตทรงเกรงวาจะตองขึ้นครองราชยเปนพระราชาเพราะทรงเห็น การลงโทษโจรตามคำสั่งของพระราชา เชน เฆี่ยนบางเอาหอกแทงบางพระองคจึงทรงแกลง เปนงอย เปลี้ย หูหนวก เปนใบ ไมพูดจากับใคร พระราชาปรึกษากับพราหมณใหนำพระองค ไปฝงเสียพระมารดาทรงคัดคานแตไมสำเร็จจึงทรงขอใหพระเตมียครองราชย 7 วันเผื่อ พระองคจะตรัสบาง ครั้งครบ 7 วันแลวพระเตมียก็ไมตรัส ดังนั้นสารถีจึงนำพระเตมียไปฝง ตามคำสั่งของพระราชาครั้งสารถีขุดหลุมเตรียมฝงขณะกำลังขุดหลุมพระเตมียลงจากรถและ ตรัสปราศรัยแจ้งวาพระองคตองการจะบวชไมตองการเปนพระราชจากนั้นสารถีกลับไปบอก พระราชา พระราชาจึงเชิญพระเตมียกลับไปครองราชย พระเตมียกลับเทศนาสั่งสอนจน พระชนกชนนีและบริวารพากันเลื่อมใสออกบวชตาม
 2. มหาชนกชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญวิริยบารมีคือความเพียรใจความสำคัญคือพระมหา ชนกราชกุมารเดินทางไปทางทะเล เรือแตกคนทั้งหลายจมนํ้าตายบางเปนเหยื่อของสัตวนํ้า บางแตพระองคไมทรงละความอุตสาหะทรงวายนํ้าโดยกำหนดทิศทางแหงกรุงมิถิลาในท่ีสุด ก็ไดรอดชีวิตกลับไปกรุงมิถิลาได ชาดกเรื่องนี้เป็นที่มาแหงภาษิตที่วาเปนชายควรเพียรรํ่าไป อยาเบื่อหนาย(ความเพียร)เสียเราเห็นตัวเองเปนไดอยางที่ปรารถนาขึ้นจากนํ้ามาสูบกได 
 3. สุวรรณสามชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญเมตตาบารมีคือการแผไมตริจิตคิดจะใหสัตวทั้งปวง เปนสุขทั่วหนา มีเรื่องเลาวา สุวรรณสามเลี้ยงมารดาบิดาของตนซึ่งเสียจักษุในปาและ เนื่องจากเปนผูเมตตาปรารถดีตอผูอื่นหมูเนื้อก็เดินตามแวดลอมไปในที่ตางๆวันหนึ่งถูก พระเจากรุงพาราณสีชื่อพระเจากบิลยักษยิงเอาดวยธนูดวยเขาพระทัยผิดภายหลังเมื่อทราบ วาเปนมาณพผูเลี้ยงมารดาบิดาก็สลดพระทัยจึงไปจูงมารดาของสุวรรณสามมามารดาบิดา ของสุวรรณก็ตั้งสัจจกริยาอางคุณความดีของสุวรรณสาม สุวรรณสามก็ฟนคืนสติและไดสอน พระราชาแสดงคติธรรมวาผูใดเลี้ยงมารดาบิดาโดยธรรมแมเทวดาก็ยอมรักษาผูนั้นยอมมีคนสรรเสริญในโลกนี้ละโลกนี้ไปแลวก็ไปเกิดในสวรรคตอจากนั้นเมื่อพระราชาขอใหสั่งสอน ตอไปอีกก็สอนใหทรงปฏิบัติธรรมปฏิบัติชอบในบุคคลทั้งปวง
 4. เนมิราชชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญอธิฐานบารมีคือความตั้งใจมั่นคงมีเรื่องเลาวาเนม ิราชไดขึ้นครองราชยตอจากพระราชบิดาทรงบำเพ็ญคุณงามความดีเปนที่รักของมหาชนและ ในที่สุดเมื่อทรงมอบราชสมบัติแกพระราชโอรสเสด็จออกผนวชเชนเดียวกับที่พระราชบิดา ของพระองคเคยทรงบำเพ็ญมาทอดพระเนตรเห็นเสนพระเกศาหงอกบางก็สลดพระทัยใน สังขารจึงทรงออกผนวช
 5. มโหสถชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญอธิฐานบารมีคือความตั้งใจมั่นคงมีเรื่องเลาวามโห สถบัณฑิตเปนที่ปรึกษาหนุมของพระเจาวิเทหะแหงกรุงมิถิลาทานมีความฉลาดรูสามารถ แนะนำในปญหาตางๆไดอยางถูกตองรอบคอบเอาชนะที่ปรึกษาอื่นๆที่ริษยาใสความดวย ความดีไมพยาบาทอาฆาตครั้งหลังใชอุบายปองกันพระราชาจากราชศัตรูและจับราชศัตรูซึ่ง เปนกษัตริยพระนครอื่นได
 6. ภูริทัตชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญศีลบารม ีคือการรักษาศีลมีเร่ืองเลาวาภูริทัตตนา คราชไปจำศีลอยูริมฝงแมนํ้ายนุนายอมอดทนใหหมองูจับไปทรมานตางๆทั้งที่สามารถจะ ทำลายหมองูไดดวยฤทธ์ดวยความที่มีใจมั่นตอศีลของตนในที่สุดก็ไดอิสรภาพ
 7. จันทกุมารชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญขันติบารมีคือความอดทนจันทกุมารเปนโอรสของ พระเจาเอกราชพระองคทรงชวยประชาชนใหพนจากคดีซึ่งกัณฑหาลพราหมณราชปุโรหิต เปนผูรับสินบนตัดสินคดีขาดความเปนธรรมสงผลใหกัณฑหาลพราหมณผูกอาฆาตพยาบาท วันหนึ่งพระเจาเอกราชทรงพระสุบินเห็นดาวดึงสเทวโลกเมื่อทรงตื่นบรรทมทรงพระประสงค ทางไปดาวดึงสเทวโลกจึงตรัสถามกัณฑหาลพราหมหกัณฑหาลพราหมหจึงกราบทูลแนะนํา ใหตรัสพระเศียรโอรส ธิดา มเหสีบูชายัญแมใครจะทัดทานขอรองก็ไมเปนผลรอนถึง ทาวสักกะ(พระอินทร)ตองมาชี้แจงใหหายเขาใจผิดวาวิธีนี้ไมใชทางไปสวรรค มหาชนจึงรุมฆา กัณฑหาลพราหมณ และเนรเทศพระเจาเอกราชแลวกราบทูลเชิญจันทกุมารขึ้นครองราชย 
8. นารทชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญอุเบกขาบารมีคือการวางเฉยพระพรหมนารถไดชวย ใหพระเจาอังคติราชแหงกรุงมิถิลามหานครพนจากความคิดเห็นผิดที่ไดรับคำสอนจาก คุณาชีวกวารูปกายของคนสัตวเปนของเที่ยงแมตัดศรีษะผูอื่นแลวไมบาปส ุทุกข เกิดไดเอง ไมมีเหตุคนเราเวียนวายตายเกิดหนักเขาก็บริสุทธ์เองเมื่อพระองคมีความเห็นดังนั้นพระเจา อังคติราชจึงสั่งใหรื้อโรงทานและมัวเมาในโลกียรอนถึงพระธิดาคือพระนางรุจาทรงหวงพระบิดา จึงสวดออนวอนขอใหพระบิดาพนจากความมัวเมารอนถึงพระพรหมนาทรทรงจำแลงกาย เปนนักบวชทรงสอนใหพระเจาอังคติราชใหกลับความเห็นที่ผิดมาบำเพ็ญกุศล ถือศีล ทำทาน ปกครองเมืองโดยสงบรมเย็น
 9. วิทูรชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญสัจจบารมีคือความซื่อสัตยบัณฑิตมีหนาที่ถวาย คำแนะนำแกพระเจ้าธนัญชัยโกรัพยะซึ่งเปนพระราชาที่คนนับถือมากครั้งหนึ่งปุณณกยักษ มาทาพระเจาธนัญชัยโกทัพยะเล่นสกาถาแพจะถวายมณีรัตนะอันวิเศษถาพระราชาแพตอง ใหสิ่งที่ปุณณกยักษตองการในที่สุดพระราชาแพปุณณกยักษของตังวิฑูรบัณฑิตพระราชา หนวงเหนี่ยวประการใดไมสำเร็จวิฑูรบัณฑิตรักษาสัจจะไปกับยักษในที่สุดแมแมยักษจะทํา อยางไรวิฑูรบัณฑิตก็ไมตายกับแสดงธรรมจนยักษเลื่อมใสและไดกลับคืนบานเมืองมีการ ฉลองรับขวัญเปนการใหญ
 10. เวสสันดรชาดก
เปนชาติสุดทายของพระพุทธเจาชาติตอไปจึงจะเกิดเปนพระพุทธเจาชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบำเพ็ญทานบารมีคือการบริจาคทานมีเรื่องเลาวาพระเวสสันดรผูใจดีบริจาคทุกอยาง ที่มีคนขอครั้งหนึ่งประทานชางเผือกคูบานคูเมืองแกพราหมณชาวกาลิงคะซึ่งตอมาขอชาง ไปเพื่อใหเมืองของตนหายจากฝนแลงแตประชาชนโกรธขอใหเนรเทศพระราชบิดาจึงจํา พระทัยตองเนรเทศพระเวสสันดรซึ่งพระนางมัทรีพรอมดวยพระโอรสธิดาไดตามเสด็จไปดวย เมื่อชูชกไปขอสองกุมารก็ประทานใหอีกภายหลังพระเจาสัญชัยพระราชบิดาไดทรงไถสอง กุมารจากชูชกและเสด็จไปรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรีกลับกรุง(เรื่องนี้แสดงการเสีย สละสวนนอยเพื่อประโยชนสวนใหญคือการตรัสรูเปนพระพุทธเจาอันจะเปนทางใหไดบำเพ็ญ ประโยชนสวนรวมไดมิใชเสียสละโดยไมมีจุดมุงหมายหรือเหตุผล)

เรื่อง หลักธรรมในแต่ละศาสนาที่ส่งผลให้อยู่รวมกับศาสนาอื่นได้อย่างมีสุข

ศาสนาพุทธ มีหลักสำคัญคือการมุงเนนใหไมเบียดเบียน ไมจองเวรซึ่งกันและ กันจะเห็นวาศีลขอ 1. ของศาสนาพุทธ คือ ปาณาติปาตา เวระมะณีสิกขา ปะทัง สะมาทิยามิคือ งดเวนการฆา เบียดเบียน ทำรายร่างกายคนและสต์และหลักสำคัญตอมาอีกคือยดหลัก พรหมวิหาร 4 คือ
1. เมตตา คือ ความปรารถนาใหผูอื่นมีความสข
2. กรุณา คือความปรารถนาใหผูอื่นพนจากความทุกข
3. มุทิตา คือ ความยนดีเมื่อผูอื่นไดดี
4. อุเบกขา คือ การวางเฉย ไมลาเอียง ทำใจเปนกลาง ใครทำดียอมไดด ี
หลักธรรมที่สาคัญอีกคือสงคหวตถุ 4 คือ หลักธรรมที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวนํ้าใจ ผูอื่นไดแก่ทานคือการใหความเสียสละแบงปนของตนเองใหผูอื่น ปยวาจา คือ พูดจาดวย ถอยคำที่ไพเราะออนหวานพูดดวยความจริงใจไมหยาบคายกาวราว อัตถจริยา คือ การสงเคราะหผูอื่นทำประโยชนใหผูอื่น และสมานัตตาคือ ความเป็นผูสมํ่าเสมอ ประพฤต ิเสมอตนเสมอปลาย เนนคุณธรรมสาคัญในการอยูกับผูอ์นในสงคม
และที่สาคัญในการแกไขปญหาความขัดแยงในศาสนาพุทธ มุงเนนท๊การเจริญปญญา นั่นคือ ปญหาต่างๆ คือผลและยอมเกิดจากสาเหตุของปญหา การแกไขตองพิจารณาที่สาเหต ุและแกที่สาเหต ุดังนั้นแตละปัญหาที่เกิดขึ้นสาเหตุที่เกิดจะแตกตางกันตามสถานการณ นอกจากจะพิจารณาที่สาเหตุแลว ในการแกปญหายงใชวธีการประชุมเปนสำคัญ พอจะเห็น รูปแบบการประชุมรวมกันของสงฆที่สงผลถึงปจจุบัน ตัวอยางคือคำวา สังฆกรรม ซึ่งเปนการ กระทำรวมกันของพระสงฆ เชน การรบบุคคลเขาบวชในพุทธศาสนา พระสงฆประกอบดวย อุปชฌาย พระคูสวด จะตองหารือกัน ไถถามกันเปนภาษาบาลีเพื่อพิจารณาคุณสมบัติของ ผูมาบวชวาสมควรใหบวชไดไหม
ศาสนาอิสลาม ไดวางหลักเกณฑแบบแผนในการประพฤติปฏิบัติในสวนที่เปนศีล ธรรมและจริยธรรมอันนำมาซึ่งความสามัคคีและความสงบสุขในการอยูรวมกันของกลุมใน สังคม ศาสนาอิสลามมีคำสอนซึ่งเป็นข้อปฏิบัติสาหรับครอบครัวและชุมชน โดยมีหลักศรัทธา หลักจริยธรรม และหลักการปฏิบัติ
สาสนแหงอิสลามที่ถูกสงมาใหแกมนุษยทั้งมวลมีจดประสงค 3 ประการคือ
1. เปนอดมการณที่สอนมนุษยใหศรัทธาในอลลอห์พระผูเปนเจาเพียงพระองคเดียว ที่สมควรแกการเคารพบูชาและภักดีศรัทธาในความยติธรรมของพระองคศรัทธาในพระ โองการแหงพระองค์ศรัทธาในวนปรโลก วันซ่ึงมนุษยฟนคืนชีพอีกครั้งเพื่อรบการพิพากษา และผลตอบแทนของความดีความชั่วที่ตนไดปฏิบัติไปในโลกนี้มั่นใจและไววางใจตอ พระองค เพราะพระองคคือที่พึ่งพาของทุกสรรพสิ่ง มนุษยจะตองไมสนหวังในความเมตตา ของพระองค และพระองคคือปฐมเหตุแหงคุณงามความดีทั้งปวง
2. เปนธรรมนูญสาหรับมนุษย เพื่อใหเกิดความสงบสุขในชีวิตสวนตัว และสงคม เปนธรรมนูญที่ครอบคลุมทุกดาน ไมวาในดานการปกครอง เศรษฐกิจ หรือนิติศาสตร อิสลามสงสอนใหมนุษยอยูกันดวยความเปนมิตร ละเวนการรบราฆาฟน การทะเลาะเบาะ แวง การละเมิดและรกรานสทธิของผูอื่น ไมลกขโมย ฉอฉล หลอกลวง ไมผิดประเวณ ีหรือ ทำอนาจาร ไมดื่มของมึนเมาหรือรบประทานสงที่เปนโทษตอรางกายและจตใจ ไมบอนทํา ลายสงคมแมวาในรปแบบใดก็ตาม
3. เปนจริยธรรมอันสงสงเพื่อการครองตนอยางมีเกียรติเนนความอดกลั้น ความ ซื่อสัตย ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ความเมตตากรุณา ความกตัญูกตเวทีความสะอาดของ กาย และใจ ความกลาหาญ การใหอภัยความเทาเทียมและความเสมอภาคระหวางมนุษย การ เคารพสทธิของผูอื่น สั่งสอนใหละเวนความตระหนี่ถราเหนียว ความอิจฉาริษยา การติฉินนินทา ความเขลาและความขลาดกลัว การทรยศและอกตัญญู การลวงละเมิดสทธิของผูอื่น

อิสลาม เปนศาสนาของพระผูเปนเจาที่ทางนำในการดำรงชีวิตทุกดานแกมนุษย์ทุกคน ไมยกเวน อายุเพศ เผาพันธ ุวรรณะ
ศาสนาคริสต นอกจากบัญญัติ 10 ประการที่สาคัญในการอยูรวมกับผูอื่นของศาสนา คริสต์คือ จงอย่าฆาคน จงอยาลวงประเวณีในคูครองของผูอื่น จงอยาลกขโมย จงอยาพูด เท็จ จงอยามักไดในทรัพยของเขา และคำสอนที่สาคัญคือใหรกเพื่อนบานเหมือนรกตัวเอง ให้มีเมตตาตอกัน จงรักผูอื่นเหมือนพระบิดารกเรา ใหอภัยแลวทานจะไดรับการอภัย ลวนแตเปนคุณธรรมพื้นฐานที่สาคัญที่ทำใหการอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข


ศาสนาพราหมณ-ฮินด ูสอนใหมีความมั่นคง มีความเพียร ความพอใจในสงที่ตน มีใหอดทน อดกลั้นมีเมตตากรุณา ขมใจไมหวั่นไหวไปตามอารมณ ไมลกขโมย ไมโจรกรรม ทำตนใหสะอาดทั้งกายและใจ มีธรรมะสาหรับคฤหัสถคือจบการศึกษาใหกลับบานชวย บิดามารดาทำงาน แตงงานเพื่อรักษาวงศตระกูลประกอบอาชีพโดยยึดหลักธรรมเครื่องดำเนินชีวิต 


แบบทอสอบวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง มัธยมศึกษาตอนปลาย

ชื่อ........................................................................รหัสนักศึกษา................................................
ข้อสอบก่อนเรียน  วิชา ศาสนาและหน้า ที่พลเมือง                       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

คำชี้แจง ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

1. วันที่พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนาเรียกว่าวันอะไร
    ก.  มาฆบูชา                                                       
    ข.  วิสาขบูชา
    ค.  เข้าพรรษา                                                         
    ง.  อาสาฬหบูชา
2.  พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ บรรลุ รูปญาณคือยามต้น ยามสอง ยามสาม คำว่า “ยามต้น” หมายความว่าอย่างไร
    ก.  รู้เรื่องเกิด
    ข.  รู้เรื่องตาย
    ค.  เวลาก่อนเที่ยงคืน
    ง.  สามารถระลึกชาติได้
3. คำว่า “ทุกขนิโรธ” หมายความว่าอย่างไร
    ก.  ความดับทุกข์
    ข.  สภาพที่ทำให้เกิดทุกข์
    ค.  สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์
    งความโกรธเป็นเหตุแห่งทุกข์    
4. ศาสนาใดที่มีคนนับถือมากที่สุดในโลก
    ก.   พุทธ
    ข คริสต์
    ค.   อิสลาม
    ง.   พราหมณ์ – ฮินดู
5. อะไรเป็นสาเหตุสำคัญในการโต้แย้งของปาเลสไตน์
ก.  ความเชื่อ
    ข.  การแบ่งสีผิว
    ค.  ความยากจน
    ง.  การนับถือศาสนา
6. มีความเมตตากรุณา และปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุขเป็นคำสอนของศาสนาใด
ก.  พุทธ
    ข.  คริสต์
    ค.  อิสลาม
    ง.  พราหมณ์
7. ข้อใดมีความหมาย ตรงกับหลักธรรมของศาสนา
    ก.  คิดรวยทางลัด
    ข.  ปิดทองหลังพระ
    ค.  เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง
    ง.  มือถือสาก ปากถือศีล
8. คำว่า “ข้าวร้อน นอนสบาย” หมายความว่าอย่างไร
    ก.  กินดีอยู่ดี
    ข.  กินข้าวที่กำลังร้อน
    ค.  กินอิ่มนอนหลับสบาย
    ง.  เกียจคร้าน ชอบทำอะไรจวนตัว                 
9. ภาษายาวี เป็นการใช้ภาษาในภาคใดของไทย
    ก.  ใต้
    ข.  กลาง
    ค.  เหนือ
    ง.  อีสานเหนือ
10. ผู้หญิงที่นิยมเจาะจมูก เมื่อแต่งงานแล้วอยู่ในประเทศอะไร?                 
     ก.  จีน
     ข.  ไทย
     ค.  อินเดีย
     ง.  อินโดนีเซีย